'ดร.ชาญวิทย์'
ชี้ เสี่ยงนองเลือด!!! หากฝ่ายรัฐใช้อำนาจดิบ ๆ อย่างปัจจุบัน - ชวนรำลึก
24 มิถุนา 2475 อย่างเข้าใจ เหตุไปไม่ถึง 'ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ'
ในฝันของ 'ปรีดี' - รัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติสะท้อน 'ระบอบใหม่' กับ
'ระบอบเก่า' ตกลงกันไม่ได้ ไม่ประนีประนอม ไม่เกี้ยเซี๊ย
เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2562 ที่สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี กรุงเทพฯ
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรยายระหว่างเป็น 1 ในวิทยากรงาน Pridi Talk ครั้งที่ 2 'แนวคิดภราดรภาพนิยมของปรีดี พนมยงค์ : ทางออกจากวิกฤตเศรษฐกิจการเมืองไทย'
เนื่องในวาระครบรอบ 87 ปี อภิวัฒน์สยาม โดยมีการถ่ายทอด facebook live
ทางแฟนเพจ สถาบันปรีดี พนมยงค์ - Pridi Banomyong Institute สถาบันปรีดี พนมยงค์ - Pridi Banomyong Institute
ดร.ชาญวิทย์ กล่าวตอนหนึ่งถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ว่า แม้จะประสบความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงระบอบภายใน 5 วัน แต่ถ้าดูถัดมาอีก 2 ปี 9 เดือนเมื่อถึงเดือนมีนาคม 2477 (นับแบบปฏิทินเก่า) มีการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 แปลว่า 'ระบอบใหม่' กับ 'ระบอบเก่า' ตกลงกันไม่ได้ ไม่สามารถเป็น 'ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ' อย่างที่ปรีดี พนมยงค์วาดฝันไว้
ปัจจุบันควรตั้งคำถามว่าอยากได้ประชาธิปไตยแบบไหนแล้วผลักดันไปจุดนั้น แต่ถ้าฝ่ายผู้มีอำนาจใช้อำนาจอย่างดิบ ๆ อย่างที่เห็นอาจจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเกิดการนองเลือด
ส่วนตัวเชื่อว่า ถ้ามีการเลือกตั้งที่สะอาด บริสุทธิ์ ยุติธรรม ผลอาจจะออกมาในโมเดลของมาเลเซียหรือสิงคโปร์หรือพม่า แต่ถ้าออกมาอย่างกัมพูชาก็ดูจะหนักไป
วันที่ 24 มิถุนา 2475 เกิดการยึดอำนาจที่ฉับพลันมากๆ ประสบความสำเร็จมาก ๆ ภายในเวลา 5 วัน สามารถเปลี่ยนระบอบเก่าเป็นระบอบใหม่ ผมมองว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ไม่น้อย
การปฏิวัติของคณะราษฎร นำโดยนายพันเอกพจน์ พหลโยธิน (พระยาพหลพลพยุหเสนา) อายุ 45 ปี ซึ่งเป็นคนที่อายุมากสุดใน
เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2562 ที่สมาคมธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี กรุงเทพฯ
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรยายระหว่างเป็น 1 ในวิทยากรงาน Pridi Talk ครั้งที่ 2 'แนวคิดภราดรภาพนิยมของปรีด
ดร.ชาญวิทย์ กล่าวตอนหนึ่งถึงการเปลี่ยน
ปัจจุบันควรตั้งคำถามว่าอยา
ส่วนตัวเชื่อว่า ถ้ามีการเลือกตั้งที่สะอาด บริสุทธิ์ ยุติธรรม ผลอาจจะออกมาในโมเดลของมาเล
วันที่ 24 มิถุนา 2475 เกิดการยึดอำนาจที่ฉับพลันม
การปฏิวัติของคณะราษฎร นำโดยนายพันเอกพจน์ พหลโยธิน (พระยาพหลพลพยุหเสนา) อายุ 45 ปี ซึ่งเป็นคนที่อายุมากสุดใน
กลุ่มนายทหารที่ยึดอำนาจขณะนั้น โดยหลายคนมีอายุใกล้เคียงกัน ส่วนหลวงพิบูลสงครามอายุ 35 ปี
ขณะที่ท่านปรีดี อายุ 32 ปีทั้งหมดอยู่ในวัยฉกรรจ์ เมื่อขึ้นมามีอำนาจก็เป็นกลุ่มคณะรัฐมนตรีที่อายุอ่อนที่สุด นับแต่มีคณะรัฐมนตรียุค
ขณะที่ท่านปรีดี อายุ 32 ปีทั้งหมดอยู่ในวัยฉกรรจ์ เมื่อขึ้นมามีอำนาจก็เป็นกล
รัชกาลที่ 5 เมื่อปฏิรูปปี 2435
ส่วนคณะรัฐมนตรีชุดที่แก่มากๆ คือ ชุดที่ตั้งหลังการยึดอำนาจ 19 กันยา 2549 ชุดท่านสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเป็นเพื่อนสวนกุหลาบของผมเอง
ส่วนคณะรัฐมนตรีชุดที่แก่มา
สำหรับการยึดอำนาจภายใน 5 วัน คือ
วันที่ 24 มิถุนา ยึดอำนาจได้ เปลี่ยนระบอบเก่า เป็นระบอบใหม่
วันที่ 25 มิถุนา มีการเจรจากันโดยส่งคนไปพระ
วันที่ 26 มิถุนา ผู้ก่อการคณะราษฎรเข้าเฝ้า แล้วดำเนินการให้มีกฎหมายนิ
วันที่ 27 มิถุนา มีรัฐธรรมนูญฉบับแรก
วันที่ 28 มิถุนา ดำเนินการให้มีส.ส.ประเภท 2 คือการแต่งตั้ง และเปิดสภา เลือกพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรี
แปลว่าใช้เวลา 5 วัน เป็นการยึดอำนาจเพื่อเปลี่ย
เพราะฉะนั้น แปลว่า พระยาพหล เป็นนายทหารประชาธิปไตย ซึ่งควรจะเป็นตัวอย่างของทหารทั้งหลายในประเทศนี้
คือเราไม่ต้องการให้ยกเลิกทหารเหมือนอย่างที่อาจารย์เกษียร เตชะพีระบอก เพียงแต่เราต้องถามว่าเราอยากได้ทหารแบบไหน เราอยากได้ทหารแบบพระยาพหลพลพยุหเสนา อันนี้ชัดเจนมาก ๆ
ผมว่านี่เป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญมากๆ ในการเปลี่ยนระบอบของสยามประเทศไทย เกือบจะไม่มีประเทศไหนเป็นอย่างนี้
นำมาสู่ระบอบที่ท่านปรีดี เรียกว่า 'ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ'
แต่แน่นอน ก็ไม่สำเร็จอย่างที่ท่านวาดฝันเอาไว้ เพราะเวลาเราศึกษาประวัติศาสตร์ เราไม่ควรดูเหตุการณ์นั้นเหตุการณ์เดียว เราต้องดูเหตุการณ์ที่มันตามมาด้วย
เราไม่ควรจะศึกษาในฐานะว่า นี่เป็นปรากฏการณ์พิเศษไม่มีที่ไหนในโลก ประเทศไทยแสนจะยูนีค พิเศษไม่เหมือนใครในโลกนี้ ผมคิดว่าต้องมองโดยเปรียบเทียบ
คือเราไม่ต้องการให้ยกเลิกท
ผมว่านี่เป็นปรากฏการณ์ที่ส
นำมาสู่ระบอบที่ท่านปรีดี เรียกว่า 'ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธ
แต่แน่นอน ก็ไม่สำเร็จอย่างที่ท่านวาด
เราไม่ควรจะศึกษาในฐานะว่า นี่เป็นปรากฏการณ์พิเศษไม่ม
เพื่อเตือนความจำการรำลึก 24 มิถุนา 2475 เราต้องอย่าลืมว่า ประสบความสำเร็จภายใน 5 วันก็จริง แต่ถ้าท่านนับดู เหตุการณ์ซึ่งตามมาในตอนหลั
ต้องดูนับแต่ 24 มิถุนา 2475 มาบรรจบการสละราชสมบัติของร
แปลว่า 'ระบอบใหม่' กับ 'ระบอบเก่า' ตกลงกันไม่ได้
จึงนำมาซึ่งการสละราชสมบัติ
ฉะนั้น ในแง่นี้ ถ้าดูแล้วเราจะเห็นว่า หลังจากนั้นเพียงไม่กี่เดือ
มีหนังสือ '2475 เส้นทางคนแพ้' ของ 'บัญชร ชวาลศิลป์' น่าสนใจที่พูดถึงเหตุการณ์เ
แล้ววันที่ 1 เดือนเมษายน 2476 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ก็ปิดสภา เป็นรัฐประหารทางรัฐสภาครั้
ในที่สุดก็เกิดกบฎบวรเดช ตุลา 2476
พวกที่ยึดอำนาจ ก็นำท่านปรีดีกลับมา แล้วมีการไต่สวนสอบสวนสรุปท
แม้พวกกบฎบวรเดชถูกปราบ มีการสร้างอนุสาวรีย์ปราบกบ
ตอนผมเรียนธรรมศาสตร์ปี 2503-2506 ในยุคจอมพลถนอม กิตติขจร ในหัวเราว่างเปล่า เพราะอดีตถูกลบหมดเลย เหมือนเด็กๆ รุ่นนี้ ไม่มีคณะราษฎรในหัว เช่นเดียวกันตอนนั้นผมไม่มี
ผมจบปริญญาตรี ได้เกียรตินิยม ได้ทุนไปเรียนต่อเมืองนอก กระทั่งไปค้นพบท่านปรีดี ในห้องสมุดมหาวิทยาลัยคอร์แ
ตอนนั้นพบหนังสืองานศพของบิ
รวมความแล้ว ในช่วง 2 ปี 9 เดือน (นับแบบปฏิทินเก่า) ยุคที่ปีใหม่ยังนับที่ 1 เมษา แล้วประเทศยังเป็นประเทศสยา
ผมเป็นอีกคนหนึ่งที่รู้สึกว
ผมชอบคำว่าปรองดอง ประนีประนอมมากกว่า หรือใช้คำ เกี้ยเซี๊ย ผมว่า เป็นคำที่ต่อรองกันดี พูดแบบคนจีน
เกี้ยเซี๊ยยาธิปไตย
รวมความแล้ว เราต้องดูว่ามีปัญหาที่ตกลง
เราอยากให้เป็นแบบของพระยาพ
กระทั่งปัจจุบันนี้ เราต้องตั้งคำถามอยากได้แบบ
เวลาเราศึกษา จะดูเฉพาะจุดไม่ได้ ต้องดูภาพรวม ช่วงระยะยาว 50 ปี 100 ปี
เพราะจะเห็นว่า ตกลงจะประนีประนอม สมานฉันท์กันได้ไหม...
ผมกำลังคิดว่า มันมีการเปลี่ยนผ่านที่น่าส
แต่ก็หวั่นใจ เพราะจากการศึกษาวิชาประวัต
เขายังเข้าใจว่าเขาชนะอยู่ ดังนั้น ถ้าเขายังเข้าใจว่าเขายังชน
เมื่อเป็นอย่างนั้น ถ้าฝ่ายมีอำนาจคิดว่าตัวเอง
แปลว่า อาจจะถึงเวลาที่เพลงยาวพยาก
ถ้าไม่เอาเวอร์ชั่นอยุธยา ก็มีอีกเวอร์ชั่นหนึ่งที่นั
ผมยังหวังว่า ถ้าเรายังสามารถมีการเลือกต